การนำ AI เข้ามาช่วยพัฒนา software ในช่วงแรกมักเป็นลักษณะของการใช้ AI เป็นผู้ช่วยเขียนโค้ด หรือเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการ generate code ที่ตอบสนองต่อ prompt ที่นักพัฒนาป้อนเข้ามาซึ่ง AI ก็จะทำการสร้าง source code หรือทำการแก้ไข error ตามคำสั่ง ซึ่งแม้มันจะช่วยเพิ่มความเร็วในการเขียน code ได้ แต่ยังขาดความเข้าใจ context เชิงลึกของ project ทั้งหมด การทำงานแบบนี้ หรือที่เรียกว่า ‘prompt engineering’ ทำให้การพัฒนาที่ขับเคลื่อนด้วย AI ขาดความสามารถในการทำซ้ำ (repeatability) และการตรวจสอบย้อนกลับ (traceability) และนำไปสู่สิ่งที่เรียกว่า ‘vibe coding’ ซึ่งเป็นการพัฒนาแบบไม่มีโครงสร้างซึ่งอาจทำให้ผลลัพธ์ที่ได้ไม่สอดคล้องกับ project standard…
Kiro – The Next Generation of Agentic AI กับแนวคิด Spec-Driven Development
