“30% of Cloud Spending is Potentially Wasted” เป็นประโยคที่น่าสนใจสำหรับคนทำ Platform เพราะ tools หลัก ๆ ของพวกเรานั้น run อยู่บน…
Start Small, Scale Smart: กลยุทธ์จัดการ Cloud แบบมือโปรด้วย FinOps

“30% of Cloud Spending is Potentially Wasted” เป็นประโยคที่น่าสนใจสำหรับคนทำ Platform เพราะ tools หลัก ๆ ของพวกเรานั้น run อยู่บน…
Cloud ช่วยให้การสร้างและขยายระบบแอปพลิเคชันเป็นไปอ…
ในยุคที่ AI ไม่ใช่แค่เรื่องของนักวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Scientist) หรือวิศวกร Machine Learning อีกต่อไป เรากำลังก้าวเข้าสู่ยุคที่ใครๆ ก็อยากมี AI มาเสริมงานให้ฉลาดขึ้น ทำงานเร็วขึ้น โดยเฉพาะในสายงานที่ต้องดูแลโครงสร้างพื้นฐานหรือพัฒนาแพลตฟอร์มอย่าง Platform Engineer ที่เริ่มหันมามองหาเครื่องมือที่ช่วยให้ “เล่นกับ AI ได้แบบไม่ต้องเริ่มจากศูนย์” หนึ่งในเครื่องมือที่น่าจับตามองที่สุดตอนนี้คือ AWS Bedrock ซึ่งเป็นบริการใหม่ของ Amazon Web Services ที่ช่วยให้เราเข้าถึงโมเดล AI ระดับเทพจากหลายค่ายแบบไม่ต้องจัดการ Infrastructure เองเลย บทความนี้จะพาไปดูว่า AWS Bedrock คืออะไร ดีตรงไหน เหมาะกับใคร และจะมีประโยชน์ยังไงกับ Platform Engineer อย่างเราๆ รวมถึงแชร์ประสบการณ์การทดลองใช้งานจริงเล็กๆ น้อยๆ เผื่อใครอยากเริ่มลองเล่นดูบ้าง AWS Bedrock คืออะไร และความน่าสนใจที่ชวนติดตาม ถ้าจะให้อธิบายสั้นๆ แบบเข้าใจง่าย: AWS Bedrock คือบริการที่ให้คุณเข้าถึงโมเดล Generative AI ระดับโลกจากหลายค่ายใหญ่ๆ ได้ในคลิ๊กเดียว โดยไม่ต้องดูแลเซิร์ฟเวอร์หรือเทรนโมเดลเอง พูดในอีกรูปแบบนึงคือ เป็นเหมือน “ร้านรวมข… Continue reading AWS Bedrock เครื่องมือสุดล้ำจากทาง AWS ที่คุณสามารถสร้างสรรค์ AI ได้กับมือ
generate by AI ในยุคนี้ที่ AI กลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวันของทุกคน คงไม่แปลกใจที่คำว่า “AI” จะถูกพูดถึงบ่อยครั้ง ซึ่งเจ้า AI อัจฉริยะเหล่านี้ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและลดเวลาในการทำงานได้ และหนึ่งในเครื่องมือที่น่าสนใจในตอนนี้คือ Amazon Q Developer ซึ่งเป็น Generative AI ที่พัฒนาโดย AWS (Amazon Web Services) เพื่อตอบโจทย์ Developer โดยเฉพาะ Amazon Q Developer คืออะไร? Amazon Q Developer หรือที่เราเรียกกันสั้น ๆ ว่า Amazon Q เป็นเครื่องมือ Generative AI ที่พัฒนาโดย Amazon Web Services (AWS) ซึ่งทำหน้าที่เสมือน AI-Powered Code Assistant เพื่อช่วยให้การพัฒนาโพรเจกต์ต่าง ๆ เป็นไปอย่างราบรื่นและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยสามารถใช้งานร่วมกับ Code Editor ชั้นนำต่าง ๆ เช่น Visual Studio Code (VS Code) และ JetBrains IDEs (เช่น IntelliJ, PyCharm) ได้ง่าย ๆ ผ่านการติดตั้ง Plugin เพียงไม่กี่ขั้นตอน สิ่งที่สำคัญคือ ผู้ใช้งานจะต้องมี บัญชี AWS Builder ID เพื่อใช้ในการ ล็อกอินผ่านโหมด Personal Profile ซึ่งเป็นขั้นตอนหลักในการเปิดใช้งาน Amazon Q Developer บนเครื่องของเรา Amazon Q Developer มาพร้อ… Continue reading Amazon Q คืออะไร? ลองให้ AI ช่วย Platform Engineer เขียนโค้ดดู แล้วผลลัพธ์ก็เกินคาด!
เป็นกันไหมครับ? ที่หลังจากเพื่อนๆ สร้าง Images และอยากตรวจสอบว่ามี Vulner รึเปล่า?…
ปัจจุบันเครื่องมือ AI สำหรับงาน DevOps เป็นหัวใจสำคัญที่ช่วยขับเคลื่อนการทำงานให้มีประสิทธิภาพและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ในบทความนี้ คุณเกม กรันยศ รัศมี Senior Platform Services Engineer…
ในการทำงานที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีนั้น ต้องยอมรับเลยว่ามีหลายๆ ครั้ง ที่เรามีความจำเป็นจะต้องพูดคุย นำเสนอ…
ย้อนกลับไปเมื่อซักสามสี่ปีที่แล้วราวๆปี 2021 สิ่งที่ทำให้ผมรู้จักกับ Generative AI เป็นอย่างแรกเลยคือ Github Copilot นี่แหละครับ ด้วยความสามารถอันแพรวพราวของการช่วยให้เหล่า Developer ทำงานได้อย่างสบายมากขึ้นด้วยการที่มีเจ้าปลาหมึกน้อยมานั่งข้างๆ Pair programming กับเรานี่มันแสนที่จะทำให้คุณภาพชีวิตของเราดีขึ้นกว่า Code Sugesstion ธรรมดาๆ แม้ว่าจะไม่ได้ไว้ใจน้องซักทีเดียว แต่แอบหนาวๆร้อนๆว่าอยู่เหมือนกันว่าอนาคตเราอาจจะไปสู่จุดที่มันอาจจะไม่ใช่ผู้ช่วยอีกต่อไปแต่อาจจะเป็นกัปตันแทนเราได้เลยทีเดียว จริงๆแล้วการนำ AI มาใช้กับงานการพัฒนา Software เรามีทางเลือกอยู่มากมาย ไม่ว่าจะเป็น AWS CodeWhisperer (Amazon Q for Developer) / Gemini Code Assist (Google Duet AI for Developer) หรือไม่ว่าจะเป็นของฟรีๆที่เป็น Open Source / Open Weight Model ต่างๆแข่งกันขิงกันออกมามากมายทั้ง CodeLlama, CodeGemma, Mistral Codestral, DeepSeekCoder แล้วเอาไป Serve ผ่าน llamp.cpp / Ollama / LMStudio ใช้งานผ่าน IDE Extension ต่างๆที่มีให้เลือกสรร เช่น Continue.dev แต่วันนี้เราจะมาขอพูดถึงเจ้าแรกในตลาดอย่าง Github Co… Continue reading รู้จักกับ Github Copilot ให้มากขึ้น เพื่อนร่วมงานที่จะมาช่วยเปลี่ยนโลกของการพัฒนา Software
ปัจจุบัน เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI (Artificial Intelligence) ได้เข้ามามีบทบาทในหลากหลายอุตสาหกรรม อาทิ อุตสาหกรรมเทคโนโลยี สื่อบันเทิง การเงินและธนาคาร เนื่องจากมีความสามารถที่ใกล้เคียงกับมนุษย์ ทั้งการเรียนรู้ การวางแผน ไปจนถึงการแก้ปัญหาต่างๆ ในบทความนี้ SCB TechX จะพาไปทำความรู้จักว่า AI คืออะไรและมีหลักการทำงานอย่างไร รวมถึงเทคโนโลยี Machine Learning และ Deep Learning ที่เป็นส่วนหนึ่งของ AI ทำความรู้จักกับ AI คำนิยามของ AI คือ ระบบคอมพิวเตอร์ที่มีฟังก์ชันการทำงานใกล้เคียงกับความสามารถของมนุษย์ เช่น การเรียนรู้ การจดจำ การประมวลผล การวิเคราะห์ และการวางแผน ส่งผลให้เทคโนโลยี AI ถูกนำมาแทนที่และแบ่งเบาภาระของแรงงานมนุษย์ในบางส่วน โดยเฉพาะการทำงานเกี่ยวกับข้อมูลปริมาณมาก (Big Data) ที่มนุษย์ใช้เวลาในการประมวลผลและวิเคราะห์ค่อนข้างนาน ในขณะที่ AI สามารถทำได้รวดเร็วกว่า โดย Machine Learning และ Deep Learning เป็นส่วนย่อยของเทคโนโลยี AI ที่ถูกพัฒนาต่อยอดขึ้นมา เพื่อเอื้อประโยชน์ต่อการทำงานกับข้อมูลปริมาณมาก – Machine Learning ระบบคอมพิวเตอร์ที่ถูกป้อนอัลกอริทึมการตัดสินใจ… Continue reading พามาทำความรู้จัก Machine Learning และ Deep Learning
แน่นอนว่าข้อมูลกลายเป็นเครื่องมือสำคัญของธุรกิจในปัจจุบัน แต่ก็ต้องอาศัยกระบวนการและเครื่องมือต่างๆ ในด้าน Data Engineering เพื่อให้ธุรกิจสามารถนำข้อมูลที่มีอยู่มาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ โดยกระบวนการทาง Data Engineering ที่มักเห็นผ่านตาบ่อยๆ คือ ETL ส่วน Reverse ETL ถือเป็นแนวคิดใหม่ที่ยังไม่เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลายมากนัก ในบทความนี้ SCB TechX จะพาไปทำความรู้จักว่า Reverse ETL คืออะไรและมีความแตกต่างกับ ETL อย่างไรบ้าง ทำความรู้จักกับ ETL และ Reverse ETL คืออะไร โดย ETL และ Reverse ETL คือ กระบวนการในการจัดการกับข้อมูลดิบ เพื่อให้แผนกต่างๆ ในองค์กรสามารถนำข้อมูลมาใช้งานให้เกิดประโยชน์ได้ – ความหมายของ ETL ก่อนอื่นขอแนะนำให้รู้จักกับ ETL ซึ่งย่อมาจาก Extract-Transform-Load โดยเป็นกระบวนการดึงข้อมูลดิบ (Extract) จากต้นทางหลายแหล่ง เช่น ข้อมูลจากแผนกการตลาด ข้อมูลจากแผนกพัฒนาธุรกิจ ไปจนถึงข้อมูลจากฝ่ายดูแลลูกค้า แล้วทำการแปลงข้อมูล (Transform) ให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะสม เพื่อจัดเก็บ (Load) ใน Data Warehouse หลังจากนั้น ทีมวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analytics) จะนำข้อมูลที่ถูกจัดเก็บใน … Continue reading ไขข้อสงสัย Reverse ETL คืออะไร และแตกต่างจาก ETL อย่างไร?